ทางเข้า เว็บตรง
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ไฟป่าอากาศร้อน นั้นก่อให้เกิดความเสียหายหลากหลายด้านอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะมาจากภัยธรรมชาติ หรือ มีผลข้างเคียงต่อสภาพร่างกาย แถมยังก่อให้เกิด PM2.5 อีกด้วย ซึ่งถ้าหายใจเข้าไปนั้นก็จะทำให้เกิดโรคปอดเรื้อรัง, โรคหัวใจ รวมถึงโรคที่มีความเกี่ยวข้องกับการเดินหายใจ
ไฟป่าอากาศร้อน จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นจาก ฟ้าผ่า หรือ อากาศที่ร้อนอย่างมาก จึงสามารถทำให้เกิดไฟไหม้ป่าได้ หรือจะเกิดจากสาเหตุของเหล่ามนุษย์ โดยส่วนมากจะเป็นการกระตุ้นการงอกของเห็ด หรือ พืชบางชนิด
ไฟป่าอากาศร้อน นั้นจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อสภาพแวดล้อม เพราะด้วยอุณหภูมิที่สูงขึ้น โดยป่าไม้ทั่วไปนั้นต้องการฝนมากขึ้นราวร้อยละ 15 เพื่อชดเชยความชุ่มชื้นที่เสียไป โดยมนุษย์ และ สิ่งมีชีวิตต่างๆ ได้รับผลกระทบจากไฟป่า ในแต่ละปีราว 339,000 คนทั่วโลก
ที่มา: การพยากรณ์สถานการณ์ไฟป่า [1]
สถิติไฟป่าจากเดือนเมษายน ปี 2567 ช่วงที่มีอากาศร้อนจัด โดยภาคเหนือนั้น เกิดไฟไหม้ป่ามากถึง 108,228 ไร่ และสามารถดับไฟป่าได้เพียง 3,149 ครั้ง โดยจังหวัดที่ไฟไหม้เยอะที่สุดก็คงหนีไม่พ้น จังหวัดเชียงใหม่ ถูกไฟไหม้ไปมากถึง 63,103 ไร่
แต่ในปี 2565-2566 ในภาคเหนือเกิดไฟป่ามากถึง 138,141 ไร่ พร้อมกับการดับไฟป่าได้ 5,131 ครั้ง แต่ด้วยในปี 2566-2567 เกิดไฟป่าที่น้อยลงเพียง 108,228 ไร่ โดยการดับไฟป่าได้ก็จริงเพียง 3,149 เท่านั้น [2]
จากสำนักงาน ป้องกันรักษาป่า และ ควบคุมไฟป่า โดยจะตั้งอยู่ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร เขตจตุจักร แขวงลาดยาว ถนนพหลโยธิน เลขที่ 61 สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ 02-561-4292-3 โดยสามารถคลิกเพื่ออ่านข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ สำนักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า
ในวันที่ 4 เดือน พฤษภาคม 2567 โดยอากาศยังร้อนจัดอย่างเช่นเคย พร้อมกับการมีฟ้าหลัวๆเล็กน้อย ในตอนกลางวัน ซึ่งจะมีฝนฟ้าคะนองในพื้นที่ จังหวัดน่าน, แพร่, อุตรดิตถ์, พิษณุโลก, พิจิตร และเพชรบูรณ์ ซึ่งอุณหภูมิสูงสุดถึง 42 องศาเซลเซียส และ ต่ำสุดเพียง 29 องศาเซลเซียส
โดยระหว่างวันที่ 4-5 พฤษภาคม ปี2567 โดยรวมจะมีฝนฟ้าคะนองร้อยละ 10-20 ของพื้นที่ พร้อมกับมีลมกระโชกแรง โดยจะมีอุณหภูมิสูงสุด 38 – 42 องศา และ ต่ำสุดเพียง 23 – 30 องศา ส่วนในวัน 6-7 จะมีพายุฝนฟ้าคะนองร้อยละ 30-40 ของพื้นภาคเหนือที่ [3]
ไฟป่านั้นจะ เกิดจากอากาศร้อนจัด โดยจะทำให้เกิดกับไฟไหม้ป่า และ การที่ไฟไหม้ป่านี้นั้นก็จะส่งผลต่อสภาพอากาศการหายใจต่างๆ จนถึงขั้นส่งผลต่อสภาพร่างกายในระบบการเดินหายใจ โดยทางเราก็ได้แนะนำข้อมูลพยากรณ์อากาศไป เพื่อจะรู้ถึงสภาพอากาศที่ไม่ควรออกจากบ้านในช่วงนี้
[1] dnp. (2003-2024). การพยากรณ์สถานการณ์ไฟป่า. Retrieved from dnp
[2] portal.dnp. (2015-2024). สถิติไฟป่า. Retrieved from portal.dnp
[3] tmd. (May 4, 2024). พยากรณ์อากาศประจำวัน. Retrieved from tmd
LONPAO Official © 2023 All Rights Reserved.