ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ

หมากเม่า ผลไม้พื้นบ้าน ช่วยต่อต้านโรคมะเร็ง

หมากเม่า

หมากเม่า หรือ มะเม่า คือผลไม้ป่า ที่ต้นมีอายุยื่นยาว จัดอยู่ในวงศ์ มะขามป้อม และเป็นผลไม้ ที่เกิดขึ้นในป่าเอง ตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถพบได้ ทั่วทุกภาคของประเทศ แต่จะพบได้มาก หรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับพื้นที่ ในท้องถิ่น ของแต่ละภาค ซึ่งถ้าในประเทศไทย จะพบหมากเม่าแค่ 5 สายพันธุ์ ซึ่งแต่ละสายพันธุ์ ก็แตกต่างกันออกไป ซึ่งปัจจุบัน ถือว่าเป็นผลไม้ ที่หาทานยาก มักไม่ค่อยมีขาย ตามตลาด หรือแหล่งชุมชนทั่วไปนี้ ผู้เล่นจะได้ทำอะไร จะเหมือนกับภาคแรก หรือไม่ เดี๋ยวไปดูต่อจากนี้

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับ หมากเม่า

หมากเม่า เป็นผลไม้ป่า ที่ผลรับประทานได้ ซึ่งจะนิยมทานผลสุก โดยผลสุกจะมี รสชาติหวานอมเปรี้ยว ทานได้ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ เป็นผลไม้ที่อยู่คู่ กับชาวไทยมานาน สามารถใช้ ประโยชน์ได้ อย่างหลากหลาย ได้แก่ การบริโภค, การนำมาแปรรูป, การนำส่วนต่างๆ ของลำต้น มาทำเป็นยาสมุนไพร ที่มีสรรพคุณ ช่วยบำรุงสุขภาพ และช่วยรักษา อาการเจ็บป่วย หรือโรคที่กำลังเป็นอยู่ ให้มีอาการที่ดีขึ้นได้

ชื่อท้องถิ่นและถิ่นกำเนิดของหมากเม่า

ผลไม้หมากเม่า เป็นผลไม้ป่า ที่มีชื่อเรียก ได้อย่างหลากหลาย ซึ่งแต่ละชื่อ จะมีความ แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับ แต่ละท้องถิ่น ของแต่ละภาค ที่นิยมเรียกกัน โดยจะมีชื่ออื่นๆ และถิ่นกำเนิด ดังนี้

ชื่อทั่วไปของหมากเม่า

  • ชื่อสมุนไพร : มะเม่า
  • ชื่อท้องถิ่นอื่นๆ : หมากเม้า, บ่าเหม้า, หมากเม่า, มะเม่า, ต้นเม่า, เม่า, เม่าเสี้ยน, หมากเม่าหลวง, มะเม่าหลวง, มัดเซ เป็นต้น
  • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antidesma puncticulatum Miq
  • ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ : Antidesma bunius var. thwaitesianum (Müll.Arg.) Trimen
  • ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae

ถิ่นกำเนิด

  • ซึ่งพืชในตระกูลหมากเม่า จะมีอยู่ด้วยกัน ทั้งหมด 170 ชนิด โดยมีถิ่นกำเนิด และการกระจายพันธุ์ อยู่ในเขตร้อน ของทวีปเอเชีย, ทวีปแอฟริกา, ทวีปออสเตรเลีย และหมู่เกาะอินโดนีเซีย รวมถึงเกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งจะมีอยู่ 5 สายพันธุ์เท่านั้น ที่พบได้มาก ในประเทศไทย ได้แก่ มะเม่าหลวง, มะเม่าสร้อย, มะเม่าไข่ปลา, มะเม่าควาย, และมะเม่าดง

ที่มา: มะเม่า สรรพคุณและประโยชน์ของมะเม่า 29 ข้อ ! (หมากเม่า, มะเม่าหลวง) [1]

หมากเม่ามีลักษณะอย่างไร

ผลไม้หมากเม่า จะมีลักษณะของผล ที่คล้ายกับ หมากเล็บแมว หรือ ผลพริกไทย โดยจะออกผลเป็นพวง และผลมีขนาดเล็ก ซึ่งจะมีลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์ ดังต่อไปนี้

  • ลำต้น : จัดเป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก ที่มีทรงหนาทึบ ลำต้นจะมีความสูง ตั้งแต่ประมาณ 2-20 เซนติเมตร ลำต้นมีสีเทา และมีกิ่งที่ค่อนข้างเล็ก [2]
  • ใบ : ใบจะมีรูปทรงไข่ ใบจะออกแบบ เรียงสลักกัน ใบมีสีเขียวสด และมีแผ่นใบ ที่เรียบเนียน
  • ดอก : มะเม่า ดอกมีสีครีม หรือเหลืองอ่อน ดอกอ่อนๆ จะมีสีเขียวอ่อน จะออกดอกเล็กๆ ที่สวยงาม เป็นจำนวนมาก
  • ผล : ผลจะคล้าย กับผลของพริกไทย ทั้งรูปทรง สีของผล รวมถึงขนาด ของผลด้วย ซึ่งจะนิยมทานผลสุก โดยผลสุก จะมีรสหวาน อมเปรี้ยวนิดๆ
  • เมล็ด : จะมีเมล็ด สีน้ำตาลอยู่ 1 เมล็ด ต่อผล

หมากเม่า กับคุณประโยชน์อันน่าทึ่ง

หมากเม่า

หมากเม่า เป็นผลไม้ ที่มีผลสุก คล้ายกับผลไม้ หว้าขี้แพะ โดยผลสุกเต็มที่ จะมีสีม่วงอมดำ เหมือนกัน ซึ่งหลายคน อาจจะไม่รู้จัก กับผลไม้ชนิดนี้ โดยเฉพาะเด็ก และเยาว์ชน คนรุ่นใหม่ เนื่องจาก ปัจจุบันหมากเม่า เป็นผลไม้ ที่หาทานยาก มักไม่พบตาม แหล่งชุมชน หรือสถานที่ทั่วไป และไม่ค่อยมีจำหน่าย รวมถึงเป็นผลไม้ ตามฤดูกาล ซึ่งจะทานได้ง่าย เฉพาะในบางพื้นที่ และจะพบได้มาก ทางจังหวัดสกลนคร

วิธีการขยายพันธุ์หมากเม่า กับขั้นตอนการปลูก

การขยายพันธุ์

  • ซึ่งปัจจุบัน สามารถทำการขยายพันธุ์ได้ 3 วิธีการ ได้แก่ การทาบกิ่ง, การเสียบยอด และการเพาะเมล็ด สามารถทำได้ทั้ง 3 วิธีการ โดยจะมีประโยชน์ และจุดประสงค์ต่างกัน เนื่องจากต้นหมากเม่า จะมีทั้งต้นตัวผู้ และต้นตัวเมีย ดังนั้นการทาบกิ่ง และการเสียบยอด จะเหมาะสำหรับ ชาวเกษตรกร ที่ต้องการสายพันธุ์ ตรงตามที่ต้องการ ส่วนการเพาะเมล็ดนั้น จะนิยมนำมาปลูกทั่วไป เช่น ตามบริเวณบ้านเรือน [3]

การปลูกต้นหมากเม่า

  • การเตรียมดินให้พร้อม : ให้ถอนหญ้า ที่อยู่ตามบริเวณ บนพื้นผิวดินให้หมด จากนั้นทำการพรวนดิน เพื่อทำให้ดิน สามารถดูดซับ และช่วยกักเก็บน้ำได้ดี
  • การขุดหลุม : ขุดหลุมให้มี ความลึก ประมาณ 10-15 เซนติเมตร จากนั้นนำดิน ที่ขุดมาผสม กับปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักก็ได้ โดยผสมให้เข้ากัน
  • การลงต้นกล้า : นำต้นกล้าลงไปปลูก จากนั้นให้นำดิน ที่ผสมกับปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก มากลบให้ทั่ว บริเวณลำต้น
  • การรดน้ำ : เมื่อกลบดินเสร็จแล้ว ให้รดน้ำตามทันที โดยรดน้ำในปริมาณ ที่พอดี พอให้ดินชุ่ม
  • การดูแลรักษา : ช่วงแรกๆ ต้องค่อยดูแล เอาใจใส่เป็นอย่างดี เพราะว่าต้นยังเล็กอยู่ ถ้าหากมีแมลงมากัดกิน หรือมีหญ้าขึ้น ให้รีบกำจัดโดยทันที เพื่อปกป้องต้นไม้ และค่อยรดน้ำ เป็นประจำทุกวัน

หมากเม่า มีประโยชน์และสรรพคุณอะไรบ้าง

คุณประโยชน์ทั่วไป

  • เป็นผลไม้ ที่รับประทาน ผลแบบสดได้เลย ซึ่งผลสุก ที่มีรสเปรี้ยวอมหวาน ทานคู่กับพริกเกลือ หรือ ผลปรุงรสต่างๆ ตามใจชอบก็ได้ ส่วนผลที่สุกเต็มที่ จะมีรสหวาน สามารถนำไปแปรรูป เป็นน้ำผลไม้ปั่น หรือ ไวน์ผลไม้ ที่ได้ทั้งความอร่อย แถวยังส่งผลดี ต่อสุขภาพอีกด้วย เพราะผลไม้ป่าชนิดนี้ อุดมไปด้วยสรรพคุณ และคุณประโยชน์ดีๆ เพียบ ซึ่งคนรักสุขภาพ ไม่ควรพลาด

มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร

  • มีสรรพคุณเป็นยา ที่ช่วยบำรุง และช่วยรักษา อาการต่างๆ ได้แก่ ป้องกันมะเร็ง, ชะลอความชรา, ช่วยฟอกเลือด, ช่วยขับเสมหะ, ช่วยขับปัสสาวะ, ช่วยแก้มดลูกพิการ, ช่วยขับน้ำคาวปลา, ช่วยป้องกันโรคหัวใจล้มเหลว, เป็นยาอายุวัฒนะ, เป็นยาระบาย, ช่วยบำรุงสายตา, ช่วยขับโลหิต, ช่วยบำรุงไต, แก้เส้นเอ็นพิการ, ช่วยบรรเทา อาการปวดเมื่อย ตามร่างกาย และใช้ประคบ รักษาอาการ ฟกช้ำดำเขียว รวมถึงช่วยรักษาแผล ฝีหนอง ได้อีกด้วย [4]

สรุป หมากเม่า ผลไม้เพื่อสุขภาพที่ดีและแข็งแรง

สรุป หมากเม่า คือผลไม้ป่า ผลรับประทานได้ โดยผลสุก จะมีรสชาติหวานอมเปรี้ยว จะทานเป็นผลไม้สด หรือนำไปแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย นอกจากนี้ ยังอุดมไปด้วย คุณประโยชน์มากมาย มีคุณค่าทางอาหาร รวมถึงมีสรรพคุณดีๆ อีกเพียบ ที่ทานแล้ว ส่งผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งผลจะสุกในช่วง เดือนสิงหาคม ไปจนถึงเดือนกันยายน รวมถึงเป็นผลไม้ ที่สามารถพบได้ตามป่าทั่วไป และพบได้ทั่วทุกภาค ของประเทศ

อ้างอิง

[1] medthai. (August 05, 2020). มะเม่า สรรพคุณและประโยชน์ของมะเม่า 29 ข้อ ! (หมากเม่า, มะเม่าหลวง). Retrieved from medthai

[2] disthai. (2017-2024). มะเม่า ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆ และข้อมูลงานวิจัย. Retrieved from disthai

[3] news.trueid. (April 25, 2023). หมากเม่าหลวง ปลูกหน้าบ้านดีหรือไม่. Retrieved from news.trueid

[4] wisdomking. (2000-2024). คลังต้นไม้แห่งการเรียนรู้. Retrieved from wisdomking