ทางเข้า เว็บตรง
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
มกร หรือ มกรคายนาค จัดเป็นสัตว์ประหลาด อีกหนึ่งชนิด ที่มีลักษณะเป็นสัตว์ผสม หลายชนิดรวมกันอยู่ ในตัวเดียวกัน โดยเป็นสัตว์ตามความเชื่อ ของคนในสมัยโบราณ ซึ่งจะเรียกอีกอย่างว่า ตัวสำรอก เนื่องจากลำตัว จะมีลักษณะที่คล้ายกับ เจ้ามกรกำลังจะคาย หรือสำรอกเอาวัตถุนั้นๆ ออกมาจากปาก หรือที่คนส่วนใหญ่ มักจะคุ้นเคยกับคำว่า มกรคายนาค นั่นเอง
มกรเป็นสัตว์ ตามจินตนาการ ในตำนาน ของช่างอินเดีย ที่มีมาแต่โบราณ โดยคนในสมัยก่อน เชื่อกันว่าเจ้ามกร เป็นเทพแห่งท้องทะเล ที่มีรูปลักษณ์ จากสัตว์หลายชนิด มาผสมกัน อยู่ในระหว่างสัตว์น้ำ กับสัตว์บก ซึ่งจะมีปาก ที่คล้ายจระเข้ แต่มีลักษณะลำตัว กับหางที่ยาว คล้ายกับปลา รวมถึงเป็นสัตว์ ที่เชื่อกันว่า มีความหมาย ในทางมงคล อีกด้วย
มกรเป็นสัตว์ในจินตนาการ ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นเทพแห่งท้องทะเล ที่มีลักษณะของสัตว์หลายชนิด มารวมกัน ทั้งระหว่างสัตว์บก และสัตว์น้ำ ได้แก่ สิงโต, นาค, มังกร, จระเข้, ช้าง และ ปลา เป็นต้น ซึ่งสัตว์ทั้งหลาย ที่กล่าวมานั้น ล้วนแต่เป็นสัตว์ ที่มีความหมาย ทางมงคลทั้งสิ้น ส่วนคำว่า “มกร” เป็นคำภาษาสันสกฤต ในพจนานุกรมศัพท์ ศิลปกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ให้ความหมายว่า มกรเป็นสัตว์ตามจินตนาการ ของช่างอินเดียโบราณ โดยจะมีลักษณะ แตกต่างกันออกไป ตามแต่ละยุคสมัย [1]
มกรเป็นสัตว์ ตามความเชื่อ ของชาวพม่า, ชาวล้านนา, ชาวไทย และชาวเขมร โดยสามารถ เรียกอีกอย่างว่า ตัวสำรอก เนื่องจากในงานศิลปะ มกรมักจะคาย หรือสำรอกเอาวัตถุต่างๆ ออกมาทุกครั้ง เช่น มกรคายนาคและในเทววิทยาฮินดู สัตว์ชนิดนี้ จัดเป็นสัตว์ประหลาด ในทะเลชนิดหนึ่ง ซึ่งปกติมักแสดงอยู่ ในรูปของสัตว์ผสม ครึ่งหน้าอาจเป็นสัตว์บก อย่างจระเข้ ส่วนครึ่งหลัง เป็นรูปสัตว์น้ำ เช่น มีหางเป็นปลา เป็นต้น
มกรจัดเป็นเทพพาหนะ สำหรับพระแม่คงคา กับเทพเจ้า แห่งแม่น้ำคงคา และพระวรุณ เทพแห่งทะเล และสายฝน ซึ่งในทางความเชื่อ ของชาวล้านนา จะใช้มกรในพิธีการขอฝน และสัตว์ชนิดนี้ ยังเป็นสัญลักษณ์ ที่ปรากฏในธง ของพระกามเทพ อันมีชื่อว่า “การกะธวัช” อีกด้วย โดยมกรถูกใช้ เป็นสัญลักษณ์ ของราศีมกร ซึ่งเป็น 1 ใน 12 ราศี ทางโหราศาสตร์ จะมีลักษณะคล้ายกัน และเรียกเป็นมกรด้วย ตามทางเข้าเทวสถาน ในศาสนาฮินดู กับศาสนสถาน ในพุทธศาสนา มักทำรูปมกร ไว้เป็นอารักษ์ ประจำปากทางนั้น ๆ อีกด้วย
ที่มา: มกร [2]
มกรเป็นสัตว์ ที่ปรากฏอยู่ ในป่าหิมพานต์ เชิงเขาพระสุเมรุ และปรากฏให้เห็น รูปปั้นได้ตามวัด ทั่วประเทศไทย โดยจะเห็นรูปปั้น ของเจ้ามกร ตรงราวบันได ซึ่งมกรเป็น ตัวกินพญานาค รูปปั้นที่เห็น ก็จะเป็นรูปมกรที่กำลัง อ้าปากกินพญานาค อยู่ตรงบันไดวัด ซึ่งทางชาวภาคเหนือ จะเรียกสัตว์ชนิดนี้ว่า มกร หรือ เหรา นั่นเอง
ลักษณะทั่วไป : ซึ่งสัตว์ชนิดนี้ จะลักษณะภายนอก ที่ผสมระหว่าง จระเข้กับพญานาค กล่าวคือ มีลำตัวยาวเหยียด คล้ายพญานาค แต่มีขายื่น ออกมาจากลำตัว และส่วนหัว ที่คายพญานาค ออกมานั้น เป็นปากจระเข้ ซึ่งคนโบราณ จึงมักนำมกร ไปเฝ้าอยู่ตามเชิงบันไดวัด และที่สำคัญ คือมีคนจำนวนไม่น้อย ที่ชอบสับสนว่า “ตัวมอม” เป็นสัตว์ชนิดเดียวกับตัว “มกร” ที่เฝ้าอยู่ตรงราว บันไดศาสนสถาน ในภาคเหนือ ถ้าหากสังเกตดูดีๆ จะพบว่ามีความ แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง [3]
อุปนิสัยของมกร : มกรเป็นสัตว์ ที่จะมีนิสัย ชอบอิจฉาผู้อื่น โดยเฉพาะจะ อิจฉาพญานาคมาก ที่พญานาคได้ รับความยกย่อง ให้เป็นผู้ที่เป็นใหญ่ที่สุด ซึ่งจากรูปที่ มกรคายนาค มรที่มาจาก เจ้ามกรอิจฉา พญานาค เพราะอยากเป็นใหญ่ที่สุด จึงขอท้าประลอง กับพญานาค หากใครชนะ จะได้เป็นใหญ่ แต่พญานาค ไม่รับคำท้า เพราะไม่อยากให้ สัตว์ที่อาศัยอยู่ในละแวกนี้ ได้รับความเสียหายไปด้วย
ซึ่งพญานาคจึงเสนอไปว่า ถ้าหากเจ้ามกร สามารถกลืนกินพญานาค ได้ทั้งตัว จะถือว่าเจ้ามกร เป็นผู้ที่จะได้เป็นใหญ่ เจ้ามกรจึงยอมรับข้อเสนอ จนท้ายที่สุด เจ้ามกรก็ไม่สามารถ กลืนกินพญานาคหมดทั้งตัวได้ เพราะพญานาคได้ แผ่หัวออกมาหลายหัว ทำให้ปากของเจ้ามกร ไม่สามารถกลืนได้อีก จึงเป็นที่มาของคำว่า มกรคายนาค หรือที่มีชื่อเรียก อีกชื่อว่า เหรา นั่นเอง
มกรถือเป็นสัตว์ผสม ในจินตนาการ สู่เครื่องประดับสถาปัตยกรรม สุโขทัยหลายแห่ง เช่น เจดีย์ หรืออาคารต่างๆ มักมีการประดับประดา ด้วยประติมากรรมมากมาย หนึ่งในนั้นคือ ประติมากรรมรูป มกร สัตว์ผสมที่มีต้นกำเนิดมาจากอินเดีย ก่อนจะเผยแพร่ไปยังลังกา ซึ่งสามารถพบงาน ศิลปกรรมรูปมกร ตามพื้นที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นที่ กัมพูชา, พม่า, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย และไทย เป็นต้น
ในดินแดนประเทศไทย มีการค้นพบ ประติมากรรมรูปมกร ในหลายวัฒนธรรม ได้แก่ ทวารวดี, ลพบุรี, หริภุญชัย และล้านนา รวมถึงสุโขทัย เป็นต้น ซึ่งเป็นการสร้างมกร ในสมัยสุโขทัยปรากฏ พบในงานปูนปั้นประดับศาสนสถาน และได้รับอิทธิพล จากศิลปะเขมร โดยมีลักษณะเป็นมกรคายนาค ประดับอยู่บริเวณปลาย กรอบหน้าบัน
โดยก่อนจะพัฒนามาเป็นมกรสังคโลก ซึ่งสร้างเลียนแบบมาจากงานปูนปั้น และปรับเปลี่ยนกลายเป็นมกร ที่มีการผสมผสานระหว่าง อิทธิพลศิลปะจีน และศิลปะเขมรในที่สุด โดยมกรมีลักษณะ ของสัตว์หลายชนิดผสมกัน เช่น มีเขาเหมือน กวาง มีปากเหมือนสิงห์ มีเคราเหมือนแพะ มีขาเหมือนจระเข้ และลำตัวมีเกล็ดเหมือนปลา เป็นต้น
สามารถคลิกอ่าน เนื้อหาเพิ่มเติม เกี่ยวกับ มกร : สัตว์ผสมในจินตนาการสู่เครื่องประดับสถาปัตยกรรม ได้ที่ finearts
สรุป มกร เป็นสัตว์ผสม ของสัตว์หลายชนิด และเป็นสัตว์ในตำนาน ที่มีถิ่นกำเนิด มาจากอินเดีย ก่อนจะมีการ เผยแพร่ไปยังที่อื่นๆ เป็นสัตว์ตามจินตนาการ ของช่างอินเดีย ที่มีมาแต่โบราณ โดยคนในสมัยก่อน เชื่อกันว่าเจ้ามกร เป็นเทพแห่งท้องทะเล มีรูปลักษณ์ จากสัตว์หลายชนิด มาผสมกัน และอยู่ในระหว่าง สัตว์น้ำ กับสัตว์บก ซึ่งจะมีปาก ที่คล้ายจระเข้ แต่มีลักษณะลำตัว กับหางที่ยาว คล้ายกับปลา ถือว่าเป็นสัตว์ที่ เชื่อว่าเป็นมงคล
LONPAO Official © 2023 All Rights Reserved.