ทางเข้า เว็บตรง
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ปรากฏการณ์ ว่ากันด้วยเหตุการณ์ทางธรรมชาติมากมาย ที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา ล้วนเป็นสิ่งที่มีหลักฐานการปรากฏชัดเจน โดยนักวิทยาศาสตร์ หรือนักชีววิทยาสามารถพิสูจน์ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราเห็นกันอยู่เป็นประจำ หรือนาน ๆ ครั้งจะมีโอกาสได้เห็น เราจึงพามาเรียนรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทั่วโลก
ปรากฏการณ์ (Phenomenon) ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และธรรมชาติ โดยอาศัยหลักเชิงประจักษ์ ของการสังเกต การทดลอง การบันทึกข้อมูล และกลไกต่าง ๆ สามารถแบ่งได้เป็น 2 สาขาหลัก คือ ชีววิทยา และ วิทยาศาสตร์กายภาพ
ต้นกำเนิดวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มีการค้นพบและเข้าใจ มาตั้งแต่ 3,500 – 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ช่วงวัฒนธรรมเมโสโปเตเมีย และวัฒนธรรมอียิปต์โบราณ เกิดเป็นหลักฐาน ลายลักษณ์อักษรชิ้นแรก แต่คนสมัยอดีตค้นคว้า เพื่อสนับสนุนเรื่องทางศาสนา หรือตำนานต่าง ๆ มากกว่าวิทยาศาสตร์ [1]
ภายในโลกใบใหญ่ของเรา มีระบบวงโคจรของ ดวงอาทิตย์ ดาวโลก และ ดวงจันทร์ เรียกว่า Sun – Earth – Moon Connection ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรือปรากฏการณ์ทางแสง ในรอบวัน รอบเดือน และรอบปี ที่มีความสัมพันธ์กันทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น
สุริยุปราคา (Solar Eclipse), จันทรุปราคา (Lunar Eclipse), สายรุ้งกินน้ำ (Rainbow), ข้างขึ้นข้างแรม (Lunar Phase), น้ำขึ้นน้ำลง (Tide), ฝนดาวตก (Meteor Shower), แสงออโรรา (Aurora), เหมายัน (Winter Solstice), ครีษมายัน (Summer Solstice), เกล็ดหิมะ (Snowflake) และ พระอาทิตย์ทรงกลด (Sun Halo)
เหตุการณ์สำคัญทางวิทยาศาสตร์ เป็นเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจริง หรือไม่มีทางเกิดขึ้นได้ในอนาคต ของปี ค.ศ. 2050 ทั้งจากธรรมชาติ และฝีมือมนุษย์ ทำนายจาก Scientific American วัดระดับความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้
ที่มา: 12 เหตุการณ์สำคัญทางวิทยาศาสตร์ [2]
เหตุการณ์ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ที่มนุษย์สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรง หรือด้วยเครื่องมือต่าง ๆ โดยการศึกษาปรากฏการณ์ มักเกี่ยวข้องกับพลังงาน สสาร และเวลา จากนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของโลกอย่าง อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, ไอแซก นิวตัน, นิโคลา เทสลา, กาลิเลโอ กาลิเลอี, ไฮน์ริช แฮทซ์ และ มัคส์ พลังค์
รวบรวมปรากฏการณ์สำคัญ ทางดาราศาสตร์ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยของปี 2567 อย่างเช่น ปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวง ใกล้โลกที่สุดในรอบปี : Super Full Moon (17 ตุลาคม 2567), ปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวง ห่างไกลโลกที่สุดในรอบปี : Micro Full Moon (วันมาฆบูชา 24 กุมภาพันธ์ 2567)
ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ใกล้โลกในรอบปี, ปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวเสาร์, ปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน และปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม นอกจากนี้ยังมี ภารกิจสำรวจอวกาศ, แอปพลิเคชันดูดาวในมือถือ, การแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ (PM2.5) และหอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน [3]
ปรากฏการณ์ เหตุการณ์ทางวิทยาศาสตร์และธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตสามารถประจักษ์ได้ด้วยสายตา ทั้งจากการทดลอง การสังเกต การบันทึกข้อมูล และจากเครื่องมือ เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางดาราศาสตร์ เกิดเป็นเหตุการณ์สำคัญทั่วโลก และแนวโน้มเหตุการณ์ที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้จริง
LONPAO Official © 2023 All Rights Reserved.