ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ

บักเค็ง ผลไม้มีประโยชน์ ช่วยรักษาอาการไข้หวัด

บักเค็ง

บักเค็ง หรือ หมากเค็ง จัดเป็นไม้ยืนต้น อีกชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในป่าเอง ตามธรรมชาติ จะพบได้ตาม ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณชื้น ถ้าในประเทศไทย จัดว่าเป็นผลไม้ป่า ที่พบได้มาก ทางภาคอีสาน และพบได้ในทั่วทุกที่ ของภาคตะวันออก ภาคอีสาน และภาคใต้

ข้อมูลทั่วไปของ บักเค็ง

บักเค็ง ถือว่าเป็นต้นไม้ ที่อยู่คู่กับคนไทย มาเนิ่นนาน ซึ่งเป็นผลไม้ป่า ประจำฤดูกาล ของชาวทางภาคอีสาน ซึ่งหลายคน อาจจะไม่คุ้นเคย หรืออาจจะไม่รู้จัก กับผลไม้ป่าชนิดนี้ เพราะจะสามารถ หาทานผลได้ง่าย ทางภาคอีสาน ส่วนทางภาคอื่นๆ จะค่อนข้างหาทานได้ยาก เพราะไม่ค่อยเห็นใครปลูก และไม่ค่อยพบต้นตามในป่า

ถิ่นกำเนิดของบักเค็ง

บักเค็งหรือ ที่คนส่วนใหญ่ เรียกกันว่า หมากเค็ง คือผลไม้ ชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิด มาจากรัฐซาบาห์ และซาราวัก ของประเทศมาเลเซีย จัดเป็นไม้ผลยืนต้นขนาดกลาง [1] สามารถขึ้นได้ทุก สภาพพื้นดิน และ เป็นต้นไม้ที่ชอบแสงแดด

ชื่อเรียก บักเค็ง หรือ หมากเค็ง จะเป็นชื่อเรียก ของทางภาคอีสาน ซึ่งผลไม้ชนิดนี้ จะมีชื่อเรียกที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ แต่ละท้องถิ่น เป็นผลไม้ที่ทานได้ ทานได้ทั้งผลอ่อน และผลสุก โดยผลสุกจะมี รสชาติหวานอมฝาด เล็กน้อย

เรื่องที่น่ารู้เกี่ยวกับบักเค็ง

บักเค็งคือผลไม้ป่า ที่พบได้มาก ทางภาคอีสาน ซึ่งจะมีชื่อเรียก ได้อย่างหลากหลาย โดยจะมีชื่ออะไรกันบ้างนั้น มีดังต่อไปนี้

  • ชื่อสมุนไพร : เขลง
  • ชื่อตามท้องถิ่น : บักเค็ง, หมากเค็ง, นางดำ, ยี, หยี, กาหยี, เค็ง, หมากเข้ง, แคง, แค็ง, นางดำ และ หมากแข้ง เป็นต้น
  • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dialium cochinchinense Pierre
  • ชื่อวงศ์ : Leguminosae-Caesalpinioideae

ลักษณะทั่วไปของบักเค็ง

  • ลำต้น : จัดเป็นไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ ต้นมีขนาดกลาง ไปจนถึงใหญ่ ลำต้นมีความสูง ประมาณ 15-30 เมตร เปลือกของลำต้น จะมีสีเทา อมน้ำน้ำตาล
  • ใบ : ใบจะลักษณะ เหมือนกับรูปทรงไข่ ใบจะเรียงสลับกัน เป็นกลุ่ม อยู่ที่ปลายกิ่ง ประมาณ 5-7 ใบด้วยกัน โคนใบ กับ ปลายใบจะแหลม ใบอ่อนมีสีเขียวอ่อน ส่วนใบแก่จะมี สีเขียวเข้ม และมีแผ่นใบ กับขอบใบ ที่เรียบ
  • ดอก : จะออกดอก เป็นช่อขนาดใหญ่ ตามบริเวณปลายกิ่ง ดอกจะมีขนาดเล็ก และมีดอกสีขาว ดอกตูม จะมีลักษณะ เป็นรูปทรงไข่ มองดูแล้วสวยงาม ซึ่งจะออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน ไปจนถึง เดือนกันยายน เป็นต้น
  • ผล : ผลทานได้ทั้งผลดิบ และผลสุก ลักษณะของผล จะมีรูปทรงกลมรี ผลอ่อนจะมีเปลือกสีเขียว เมื่อผลสุกเต็มที่ เปลือกของผล จะเป็นสีดำ ภายในผล จะมีเนื้อสีน้ำตาล มีรสชาติหวานอมฝาด แต่ถ้าผลอ่อน ผลจะมีรสชาติเปรี้ยว เปลือกผิวจะเรียบ
  • เมล็ด : ในหนึ่งผล จะมีเมล็ด 1 เมล็ด เมล็ดจะอยู่ ภายในเนื้อผลสีน้ำตาล โดยเมล็ดจะมี ลักษณะรูปทรงกลมแบน และมีเมล็ดสีเทาอมดำ

ที่มา: เขลง [2]

บักเค็ง ผลไม้ป่าชื่อแปลก มีผลสุกสีดำ

บักเค็ง

บักเค็ง จัดว่าเป็นผลไม้ป่า หาทานผลได้ยาก เช่นเดียวกันกับ จันอินจันโอ ซึ่งจะค่อนข้าง หาทานได้ยาก ถ้าหากไม่ใช่ คนในพื้นที่ ซึ่งผลอ่อนสามารถนำไปแปรรูปได้อย่างหลากหลาย เช่น การทำเป็นดอง, ผลไม้แช่อิ่ม, ตำผลไม้ หรือ ยำผลไม้ เป็นต้น ถือว่าเป็นผลไม้ ที่มีสรรพคุณเป็นยา ช่วยบำรุงร่างกาย และมีประโยชน์ ต่อสุขภาพ

แนะนำวิธีการขยายพันธุ์ของ บักเค็ง

เนื่องจากในปัจจุบัน ได้มีวิธีการขยายพันธุ์ของผลไม้ป่า เพื่อช่วยเสริมสร้าง รายได้ที่มั่นคงให้กับชาวเกษตรกร ด้วยการปลูกขายผลผลิต แถมยังช่วย ป้องกันไม่ให้ ผลไม้ป่าชนิดนี้ สูญพันธุ์อีกด้วย โดยจะขั้นตอนการขยายพันธุ์ ดังนี้

  • วิธีการเลือกผล : ให้เก็บผลที่แก่เต็มที่มา ผลแก่ที่ใช้ได้ จะมีสีดำ และในผล จะมี 1 เมล็ด ให้น้ำมาแกะเนื้อออกให้หมด เหลือเฉพาะเมล็ด ซึ่งจะได้เมล็ด ที่มีลักษณะกลมรี จากนั้นให้นำไปล้างน้ำให้สะอาด จากนั้น ตากเมล็ด ทิ้งไว้ให้แห้ง โดยการตากแดด ประมาณ 2-3 วัน
  • การเตรียมกระบะเพาะ : ภายในกระบะเพาะ จะประกอบวัสดุเพาะ ซึ่งจะมีส่วน ผสมคือ แกลบสุก, ดินร่วนปนทราย, ขุยมะพร้าว และเศษซากใบไม้ ที่เน่าเปื่อยได้ง่าย โดยนำมาผสม คลุกเคล้าให้เข้ากัน
  • การเพาะเมล็ด : ให้นำเมล็ด ที่ตากแห้งแล้ว นำมาหว่านบนวัสดุ ที่เพาะภายในกระบะเพาะ แล้วนำเศษซากใบไม้แห้ง ให้นำมาสับ เป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อนำมาคลุม ทับเมล็ดบางๆ อีกทีหนึ่ง
  • การรดน้ำ : การรดน้ำทุกครั้ง จะต้องค่อยสังเกตดูว่า วัสดุที่เพาะแห้งหรือไม่ ถ้าแห้งค่อยรดน้ำ เพราะไม่จำเป็นต้องรดน้ำทุกวัน ถ้ากระบะเพาะเมล็ดยังเปียกอยู่ ก็ไม่ต้องรดน้ำ เพื่อเป็นการ ป้องกันเมล็ดเน่า
  • การเตรียมสถานที่ : ในการเตรียมกระบะเพาะ เพื่อเพาะกล้าต้นไม้ จะต้องเป็นในที่ร่ม ปล่อยทิ้งไว้ให้เมล็ดงอก เมื่อต้นกล้า ที่เพาะต้นงอกแล้ว มีความสูง ประมาณ 5 เซนติเมตร มีใบ 2-3 ใบขึ้นมา ให้นำต้นกล้า ใส่ถุงเพาะชำ และรดน้ำ แล้วรอให้ต้นกล้าเติบโต และแข็งแรง จึงค่อยนำไปปลูกต่อ

ที่มา: ขั้นตอนการขยายพันธุ์ [3]

คุณประโยชน์ของ บักเค็ง

เนื่องจากบักเค็ง เป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ดีๆ มากมายต่อผู้บริโภค อีกทั้งยังมีสรรพคุณเป็นยา ช่วยรักษา และบำรุงร่างกาย ให้มีสุขภาพร่างกายที่ดี
ประโยชน์ของแต่ละส่วน

  • ผล : ผลทานได้ทั้งผลดิบ และผลสุก ผลดิบจะมีรสชาติเปรี้ยว จะนำมาหั่นเป็น แผ่นบางๆ ทานคู่กับพริกเกลือ, น้ำพริก หรือผลปรุงรสต่างๆ ตามใจชอบได้เลย รวมถึง จะนำผลดิบ ไปตำ หรือยำ ก็ได้เช่นกัน ถือว่าอร่อย ไม่เบาเลยทีเดียว
  • ผลดิบ : สามารถนำไปแปรรูป เป็นผลไม้ดอง หรือ ผลไม้แช่อิ่ม เก็บไว้ทาน ในยามว่าง หรือไว้ทานเล่นๆ
  • ผลสุก : เนื้อผลจะมีรสชาติหวาน รับประทานผล แบบสดๆ ได้เลย อร่อยและดีต่อใจ
  • ยอดใบอ่อน : ทานได้ มีรสชาติเปรี้ยว ใช้ในการประกอบอาหาร หรือ รับประทานเป็นผักสด จิ้มทานกับน้ำพริก ได้เลย

สรุป บักเค็ง ผลไม้ป่ามีประโยชน์ต่อร่างกาย

สรุป บักเค็ง เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ไปจนถึงใหญ่ เป็นต้นไม้ ที่เกิดขึ้นในป่าเอง ตามธรรมชาติ สามารถพบได้ทั่วไป ตามป่าเบญจพรรณ หรือ ป่าดิบแล้ง ผลทานได้ทั้งผลดิบ และผลสุก ผลดิบจะมีรสชาติเปรี้ยว ส่วนผลสุกมีรสชาติหวาน เป็นผลไม้ที่ มีสรรพคุณทางยา และมีประโยชน์ต่อร่างกายนั้นหากใครรีบ อยากติดตามเนื้อเรื่อง ก็ซื้อไปลองก่อนได้เลย

อ้างอิง

[1] farm.vayo. (2024). ลูกหยี หรือ เขลง, กาหยี, นางดำ (Dialium Cochinchinense). Retrieved from farm.vayo

[2] samunpri. (2024). เขลง. Retrieved from samunpri

[3] thaihof.org. (January 03, 2019). ต้นเค็ง ผลต้มกินแก้ร้อนใน. Retrieved from thaihof.org