ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ

หมากซู่ลูด ผลไม้ป่า มีคุณค่าทางโภชนาการ

หมากซู่ลูด

หมากซู่ลูด คือผลไม้ป่า ที่หาทานได้ ค่อนข้างยากแล้ว ในปัจจุบัน ซึ่งหลายคนอาจจะไม่เคยเห็น และไม่คุ้นเคย กับผลไม้ชนิดนี้ เนื่องจากจะมีเฉพาะ แค่ในบางพื้นที่ จัดว่าอยู่ในกลุ่ม ของผลไม้หาทานได้ยาก สามารถพบได้ตามป่า หรือตามพื้นที่ท้องถิ่น ในแหล่งชุมชนบ้าง แต่จะพบได้น้อย ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว จะเห็นคนปลูกกันมาก แถวต่างจังหวัดมากกว่า

หมากซู่ลูดผลไม้ป่าหาทานได้ยาก

หมากซู่ลูด ได้ขึ้นชื่อว่า เป็นผลไม้พื้นบ้าน ของชาวไทยใหญ่ ซึ่งเป็นผลไม้ อีกหนึ่งชนิด ที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน โดยผลรับประทานได้ ทั้งผลดิบ และผลสุก ผลดิบจะนิยม นำไปประกอบอาหาร ส่วนผลสุกนั้น ทานแบบสดๆ ได้เลย ผลสุกจะมีรสชาติ หวานอมเปรี้ยว บอกได้เลย ว่าอร่อยสุดๆ ทานแล้วดีต่อใจ

ข้อมูลทั่วไปของหมากซู่ลูด

ผลไม้หมากซู่ลูด ถือเป็นพืชผักสวนครัว พื้นบ้านของชาว ไทยใหญ่ และเป็นมรดก แห่งแผ่นดิน ที่ในสมัยอดีต ชาวบรรพบุรุษ ของชาวไทยใหญ่ ได้ปลูกผลไม้ชนิดนี้ ติดต่อกันมานานกว่าร้อยปี และมีความเชื่อกันว่า มีคุณประโยชน์ ทางโภชนาการสูง รวมถึงมีวิตามินเอ ที่ช่วยบำรุงสายตา ปรับสมดุลในร่างกาย ให้สดชื่นเช่นเดียวกับเสาวรส [1] โดยปัจจุบัน สามารถหาทานได้ยาก และในบางพื้นที่ อาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับผลไม้หมากซู่ลูด

ต้นหมากซู่ลูด สามารถเจริญเติบโตได้ข้ามปี อยู่ในกลุ่มไม้เถาเลื้อยตระกูลแตง สามารถขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด และถ้าปลูกใน ดินร่วนปนทราย จะทำให้ระบายน้ำได้ดี รวมถึงปลูกง่าย โดยไม่พึ่งปุ๋ยหรือสารเคมี ซึ่งชาวบ้าน จะนิยมเก็บ เมล็ดพันธุ์ไว้ เพื่อปลูกขยายพันธุ์ โดยใช้เวลา การเพาะเมล็ด ประมาณ 2-3 เดือน จึงได้ต้นกล้า [2]

ต้นหมากซู่ลูด ปลูกง่าย บางทีแค่นำเมล็ด ทิ้งลงบนผิวดิน ต้นก็สามารถขึ้นได้เองแล้ว ซึ่งในช่วงแรกที่ปลูก ให้รดน้ำอย่างสม่ำเสมอ และดูแล หรือกำจัดศัตรูพืช ที่มารบกวน เพราะต้นกำลังเล็กอยู่ เมื่อต้นโตแล้ว ต้นจะแข็งแรง และทนต่อสภาพอากาศต่างๆ ได้ดี รวมถึงออกผลผลิต ให้รับประทานได้ ตลอดทั้งปี

แนะนำ หมากซู่ลูด ผลไม้ที่อุดมไปด้วยคุณประโยชน์

หมากซู่ลูด

หมากซู่ลูด เป็นผลไม้ ที่อุดมไปด้วย คุณประโยชน์และยังเป็นผลไม้ แต่จะอยู่ในหมู่ ผลไม้หาทานได้ยาก เช่นเดียวกับ เสม็ดแดง โดยลักษณะ เนื้อภายในของผล จะคล้ายกับเสาวรสมาก มีรสชาติอร่อย ทานได้ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ แต่จะค่อนข้าง หาทานได้ยาก ถ้าหากไม่ใช่คนในพื้นที่ และเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ต้องช่วยกัน อนุรักษ์ผลไม้ชนิดนี้ไว้ ให้ลูกหลาน หรือคนรุ่นใหม่ ได้รู้จักกับผลไม้ชนิดนี้ ว่าอร่อย และมีประโยชน์มาก

ลักษณะของผลหมากซู่ลูด

ผลไม้หมากซู่ลูด จะมีลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์ ดังต่อไปนี้

  • ลำต้น : จะมีลักษณะ เป็นไม้เถาเลื้อย ที่ลำต้นจะเลื่อย ขึ้นต้นไม้ทั่วไป หรือเลื่อยตามรั่วบ้าน ลำต้นจะมีสีเขียว
  • ใบ : ใบอ่อนจะเป็น สีเขียวอ่อน ส่วนใบแก่จะมีสีเขียวเข้ม และใบจะค่อนข้างหยาบ
  • ดอก : ดอกจะมีลักษณะ ที่มองดูแล้ว คล้ายกับ ดอกบัวตอนบาน แต่ดอกจะเล็กกว่า ดอกบัว และมีดอกเป็นสีม่วง
  • ผล : ผลจะมีลักษณะ เป็นรูปทรงกลมรียาว ผิวเปลือกจะเนียนเรียบ ผลอ่อนจะมี สีเขียวอ่อน เนื้อภายใน จะเป็นสีขาว เมื่อผลสุก เต็มที่ ผลจะมีสีเหลืองอมส้ม เนื้อภายในผล จะมีสีส้มอ่อน เนื้อจะคล้ายกับ เนื้อของเสาวรส มีรสชาติ หวานอมเปรี้ยว
  • เมล็ด : ภายใน 1 ผล จะมีเมล็ด หลายเมล็ด เมล็ดทานพร้อม กับเนื้อของผลได้เลย ซึ่งจะคล้ายกับ ทานเสาวรส เมล็ดจะมีสีดำ

สรรพคุณของหมากซู่ลูด

มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร

  • หมากซู่ลูดนอกจาก เป็นอาหารที่มีรสชาติอร่อยแล้ว ยังมีสรรพคุณทางยา ที่ช่วยบำรุงร่างกายได้หลายอย่าง ได้แก่ เป็นยาฟอกเลือด ช่วยบำรุงโลหิต ช่วยรักษา โรคเบาหวาน และช่วยล้างพิษ รวมถึงในสมัยโบราณ ปู่ย่าตายาย จะนิยมปลูกหมากซู่ลูด เป็นผักสวนครัว เพื่อนำผลมาทำ เป็นอาหาร ประจำบ้านสำหรับบำรุงร่างกาย ให้มีสุขภาพที่ดี และแข็งแรง [3]

สรุป หมากซู่ลูดผลไม้ป่า รสชาติดี มีประโยชน์

สรุป หมากซู่ลูด ซึ่งเป็นผลไม้ อีกหนึ่งชนิด ที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน โดยผลรับประทานได้ ทั้งผลดิบ และผลสุก ผลสุกจะมีรสชาติ หวานอมเปรี้ยว ทานแบบสดๆ ได้เลย ส่วนผลดิบ จะนิยมนำไป แกงใส่ปลา อีกทั้งยังถือ ว่าเป็นพืชผักสวนครัว พื้นบ้านของชาว ไทยใหญ่อีกด้วย ซึ่งเป็นผลไม้ที่ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างหลากหลาย ทานได้ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ เป็นผลไม้ ที่ดีต่อสุขภาพ

อ้างอิง

[1] thaifarmer. (August 29, 2019). “หมากซู่ลูด” ผักสวนครัวพื้นบ้านไทใหญ่ ปลูกง่าย ตำส้มตำอร่อยมาก. Retrieved from thaifarmer

[2] technologychaoban. (December 31, 2018). “หมากซู่ลูด” ทานผลได้ทั้งดิบและสุก คุณประโยชน์ทางโภชนาการสูง. Retrieved from technologychaoban

[3] technologychaoban. (June 22, 2022). “หมากซู่ลูด” พืชผักไทใหญ่อายุกว่าร้อยปี ที่ใกล้สูญพันธุ์. Retrieved from technologychaoban