ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ

ภัยพิบัติ พายุฝนฟ้าคะนอง ภัยฉับพลันจากมวลอากาศร้อน

พายุฝนฟ้าคะนอง

พายุฝนฟ้าคะนอง เหตุการณ์ฝนตกหนัก และลมแรงตามธรรมชาติ จากสภาพอากาศของพื้นผิวโลก โอกาสเกิดฝนฟ้าคะนอง ได้เกือบตลอดทั้งปี เพราะประเทศไทยมีสภาพอากาศเขตร้อน จึงมีอากาศร้อนอบอ้าว เอื้ออำนวยต่อการเกิดพายุในทุกพื้นที่ และอาจมีความรุนแรง ส่งผลกระทบต่อหลายอย่างด้วย

พายุฝนฟ้าคะนอง ลักษณะการเกิดและผลกระทบ

พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorm) พายุที่มีลักษณะเฉพาะ เกิดขึ้นบนพื้นผิวโลกเป็นประจำ โดยสามารถก่อตัวได้เกือบตลอดเวลา ในทุกพื้นที่ตามฤดูกาล ทั้งฟ้าร้อง ฟ้าผ่าฟ้าแลบ มาพร้อมกับลมแรง ทำให้เกิดฝนตกหนักรุนแรง และในบางครั้งอาจเกิดหิมะตก หรือลูกเห็บตก [1]

พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดขึ้นกี่แบบ

การจำแนกประเภทพายุฟ้าคะนองมี 4 ประเภทหลัก โดยมีวัฏจักรชีวิตยาวนาน ตามปกติแล้วจะมีความเร็ว มากกว่า 13 เมตร / วินาที และค่าปริมาณน้ำที่ตก มากกว่า 36.9 มิลลิเมตร แบ่งการเกิดดังต่อไปนี้

  • Ordinary Cell : พายุเซลล์ธรรมดา หรือเรียกว่า “พายุพัลส์” ประกอบด้วยกระแสลมขึ้น 1 ครั้ง และกระแสลมลง 1 ครั้ง มักเป็นเหตุการณ์ที่ไม่รุนแรง แต่อาจมีลมกระโชกแรงเกิดขึ้นได้ โดยมีความเร็วลม ต่ำกว่า 112 กิโลเมตร / ชั่วโมง
  • Multi-Cell Cluster : พายุของเซลล์ธรรมดา เพียงแค่เซลล์เดียว ที่มีการผ่านวงจรชีวิตและสลายไป แบบไม่เกิดการสร้างเซลล์ใหม่เพิ่มขึ้น แต่บ่อยครั้งจะก่อตัวเป็นกลุ่ม มีเซลล์จำนวนมาก ความเร็วลมเคลื่อนตัวไปตามกระแสน้ำ ก่อให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่เล็ก ๆ และมีน้ำท่วมฉับพลัน
  • Multi-Cell Line : พายุแบบแนวยาวไปทางด้านข้าง ระยะหลายร้อยไมล์ สามารถอยู่ได้นานหลายชั่วโมง ส่งผลให้เกิดลมแรง มีเมฆชั้นลอยต่ำ และลูกเห็บที่เป็นอันตราย มักสร้างความเสียหายเป็นเส้นตรง และแพร่กระจายแบบแนวนอนกับพื้นผิวโลก
  • Supercell Thunderstorms : พายุเซลล์ธรรมดาชนิดพิเศษ คงอยู่ได้นานหลายชั่วโมง เป็นสาเหตุของการเกิด พายุทอร์นาโด ลมกระโชกแรง น้ำท่วมฉับพลัน และลูกเห็บขนาดใหญ่ โดยมีการเรียงตัวเป็นระเบียบ กระแสลมขึ้นมีความเร็ว สูงกว่า 160 กิโลเมตร / ชั่วโมง

ที่มา: Types of Thunderstorms [2]

ผลกระทบจากพายุฝนตกหนัก

แน่นอนว่าพายุฝน ล้วนเป็นอันตรายกับหลายอย่าง ทั้งสิ่งมีชีวิต สภาพแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐาน และทรัพย์สินต่าง ๆ เพราะเมื่อฝนตกหนัก จะมีคลื่นลมแรงเสมอ รวมไปถึงผลกระทบในเส้นทางการบิน เนื่องจากมีสภาพอากาศเลวร้าย อาจทำให้เครื่องบินที่อยู่ใกล้ ได้รับความเสียหายด้วยเช่นกัน

พายุฝนฟ้าคะนอง เมฆชั้นหนาสภาพอากาศรุนแรง

พายุฝนฟ้าคะนอง

พายุที่สามารถเกิดขึ้นได้ ในสภาพอากาศเหมาะสม การเกิดพายุฟ้าคะนอง ใช้เวลาเฉลี่ย 30 นาที หรือ 2 – 4 ชั่วโมง ซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และแทบจะไม่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า ดังนั้นจึงควรดูพยากรณ์อากาศ เรียนรู้สัญญาณที่บ่งบอกลักษณะพายุ และวางแผนล่วงหน้า เพราะพายุฝนทุกรูปแบบล้วนอันตราย

เรียนรู้รับมือกับพายุฝนให้ปลอดภัย

แนวทางการรับมือ ป้องกันตัวเองจากพายุฝน ควรอยู่ในอาคาร หรือที่พักโครงสร้างแข็งแรง สามารถป้องกันจากฟ้าผ่า ลูกเห็บ ลมมรสุม และน้ำท่วม ในขณะที่อาศัยอยู่ในที่พักพิง ควรอยู่ห่างจากประตูและหน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและน้ำประปา โดยการเกิดพายุฟ้าคะนอง จะใช้ระยะเวลาไม่นานก็ผ่านไป

แต่ถ้าหากอยู่สถานที่ภายนอก ให้หาที่หลบภัยมั่นคงแข็งแรง หรือในรถยนต์ หลีกเลี่ยงอยู่ท่ามกลางพื้นที่โล่งแจ้ง หลีกเลี่ยงอยู่บนพื้นที่สูง และหลีกเลี่ยงเข้าใกล้กับวัตถุโลหะ หรือถ้าหากอาศัยอยู่ในเรือ ควรลงเรือและออกห่างจากแหล่งน้ำ เพราะเมื่อได้ยินเสียงฟ้าร้อง หมายถึงกำลังเข้าใกล้พายุ พอที่จะโดนฟ้าผ่าได้ [3]

ค้นหาคำตอบเกี่ยวกับ พายุฝน ฟ้าคะนอง

  • พายุฝนฟ้าคะนองมาจากไหน : เกิดจากเมฆฝนรวมตัวกัน ลอยตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว ในบริเวณที่มีอากาศร้อน และมีความชื้นมาก โดยจะมีฝนตกหนัก ลมแรง ฟ้าแลบหรือฟ้าผ่า เกิดขึ้นพร้อมกัน
  • ลักษณะใดที่บ่งบอกว่าจะเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง : เมฆก่อตัวขึ้นในแนวดิ่ง มีขนาดใหญ่ เรียกว่า Cumulonimbus ลักษณะเมฆหนาทึบและสูง
  • เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ห้ามทำอะไรบ้าง : ห้ามอยู่บริเวณระเบียงหรือดาดฟ้า ห้ามเปิดประตูหน้าต่าง และห้ามใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือโทรศัพท์มือถือ
  • เดือนไหนในไทยมีฝนตกหนักมากที่สุด : เดือนกันยายน
  • หากบ้านเรือนโดนพายุ ต้องแจ้งหน่วยงานใด : หน่วยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โทรติดต่อ 0-2637-3803 สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง

สรุป พายุฝนฟ้าคะนอง “Thunderstorm”

พายุฝนฟ้าคะนอง พายุลักษณะเฉพาะบนพื้นผิวโลก หนึ่งใน ภัยพิบัติธรรมชาติ โดยก่อตัวขึ้นจากสภาพอากาศเขตร้อน และมีความชื้นสะสมมากพอ เกิดได้เกือบตลอดทั้งปีในทุกพื้นที่ กินเวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง แต่อาจสร้างความเสียหายรุนแรง จากลมกระโชกแรง ปริมาณฝนตกหนัก ฟ้าร้องฟ้าผ่า และลูกเห็บขนาดใหญ่

อ้างอิง

[1] wikipedia. (December 24, 2024). Thunderstorm. Retrieved from wikipedia

[2] noaa. (May 9, 2023). Types of Thunderstorms. Retrieved from noaa.gov

[3] nationalweatherservice. (2024). Severe Thunderstorm Safety Rules. Retrieved from weather.gov