ทางเข้า เว็บตรง
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ
ดาวเสาร์ เจ้าของฉายา “ราชาวงแหวน” ดาวเคราะห์ประหลาด ที่มีวงแหวนน้ำแข็งเปล่งประกาย ลักษณะเฉพาะตัวในบรรดาดาวเคราะห์ ที่ใครได้เห็นแล้วต้องบอกว่าสวยงามมาก แต่ทว่าไม่สามารถ เข้าไปเหยียบบนดาวเสาร์ได้ เพราะว่าไม่มีพื้นผิวโลก ทั้งยังมีสภาพภูมิอากาศติดลบ เรียกว่าแค่มองอยู่ไกล ๆ ก็พอแล้ว
ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวเคราะห์มีวงแหวนลำดับที่ 6 จากวงโคจร ดวงอาทิตย์ โดยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของ ระบบสุริยะ รองลงมาจาก ดาวพฤหัสบดี ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่มีวงแหวนสว่างชัดเจน และวงแหวนกว้างใหญ่มากที่สุด ถูกตั้งชื่อตาม เทพเจ้าแห่งความมั่งคั่ง และการเกษตร [1]
ลักษณะของดาวเสาร์นับว่าเป็น ดาวเคราะห์ก๊าซ ที่มีขนาดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 120,536 กิโลเมตร เทียบประมาณ 9 เท่าของ ดาวโลก และมีมวลมากกว่าโลกถึง 95 เท่า โดยประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% เป็นดาวที่ไม่มีพื้นผิวแน่นอน ส่วนโครงสร้างภายใน มีแกนกลางเป็นหินแข็ง
สำหรับวงแหวนดาวเสาร์ เป็นวงแหวนค่อนข้างสว่าง และกว้างใหญ่มาก ประกอบด้วย อนุภาคน้ำแข็ง โดยมีเศษหินและฝุ่นเล็กน้อย ทอดยาวประมาณ 6,630 – 120,700 กิโลเมตร มีดวงจันทร์บริวารรวม 82 ดวง (จากอดีตเคยมีบริวารมากที่สุด 146 ดวง) ทั้งนี้คาดว่าวงแหวน อาจมีอายุมากกว่า 100 – 4,600 ล้านปี
การโคจรอย่างช้า ๆ ไม่เร่งรีบเหมือนดาวเคราะห์อื่น โดยเป็นดาวที่หมุนรอบตัวเองช้า เมื่อเทียบกับขนาดที่ใหญ่โต ซึ่งใช้เวลาประมาณ 10.7 ชั่วโมง / รอบ ด้วยความเร็วเฉลี่ย 9.64 กิโลเมตร / วินาที และใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 29.5 ปี ของโลก
อุณหภูมิภายในดาวเสาร์ ไม่มีอุณหภูมิที่แน่นอน เพราะมีชั้นบรรยากาศเป็นเมฆหนา เฉลี่ยอุณหภูมิต่ำสุด -214 °C และอุณหภูมิสูงสุด 80 °C โดยนักวิทยาศาสตร์คำนวณว่า แกนกลางดาวเสาร์ อาจมีอุณหภูมิอย่างน้อย 8,315 °C ซึ่งร้อนกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์ และมีแรงกดรุนแรงมาก [2]
ดาวเคราะห์ใหญ่ที่ไม่เหมือนใคร โดยมีวงแหวนล้อมรอบสะท้อนแสง และดาวบริวารจำนวนมาก ซึ่งจากการสำรวจของยานอวกาศทั้ง 4 ลำ คือ Saturn-Pioneer 11, Voyager 1, Voyager 2 และ Cassini ได้เปิดเผยความลับว่า วงแหวนมีทั้งหมด 7 ชั้น ที่มีชื่อตามตัวอักษร A B C D E F และ G
ในช่วงของปี 2025 นับจากนั้นมนุษย์เราจะไม่สามารถมองเห็น วงแหวนของดาวเสาร์ เพราะวงแหวนหายไปแล้วจริงหรือ? จากการสำรวจภาพถ่าย ของกล้องโทรทรรศน์ พบว่าวงแหวนมีลักษณะบางลง แต่ความเป็นจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์ ไม่ได้จางหายไปไหน แถมยังมองเห็นง่าย เพราะมีแสงสว่างมาก
แต่ที่หลายคนบอกกันว่า วงแหวนอาจหายไป เป็นเพราะมิติการมองเห็น ที่สังเกตจากระยะห่างไกลกว่า 1,200 ล้านกิโลเมตร เนื่องจากดาวเสาร์อยู่ในระนาบเอียงกับดวงอาทิตย์ และมีองศาเอียงแตกต่างกัน หากมองจากดาวเคราะห์อื่น ทำให้คนบนโลก มองเห็นวงแหวนทับซ้อน และขนานไปกับระนาบพอดี [3]
ดาวเสาร์ ดาวเคราะห์วงแหวนน้ำแข็ง มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 หนึ่งในดาวเคราะห์ก๊าซ ที่ไม่มีพื้นผิวโลกแบบแน่นอน เต็มไปด้วยชั้นบรรยากาศเมฆหนาแน่น โดยมีอุณหภูมิค่อนข้างหนาวเย็น ตั้งแต่ -214 ถึง 80 องศาเซลเซียส สามารถมองเห็นได้จากโลก เป็นวงแหวนที่สว่างและสวยงาม
[1] wikipedia. (November 8, 2024). Saturn. Retrieved from wikipedia
[2] littlepassports. (2024). Saturn. Retrieved from littlepassports
[3] esa. (2024). A history of Jupiter exploration. Retrieved from esa.int
LONPAO Official © 2023 All Rights Reserved.