ทางเข้า เว็บตรง

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ศูนย์รวมความบันเทิงชั้นนำ

กระเบาน้ำ ผลไม้มีสรรพคุณ ผลใช้รักษามะเร็ง

กระเบาน้ำ

กระเบาน้ำ หรือ กระเบา คือผลไม้ชนิดหนึ่ง ผลรับประทานได้ มีชื่อเรียก ที่สามารถเรียก ได้หลายชื่อ จัดเป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ ที่เกิดขึ้นเองในป่า ตามธรรมชาติ ซึ่งจะพบได้ตามป่าทั่วไป ได้แก่ป่าดิบเขา และจะพบได้บ้าง เป็นบางพื้นที่ ตามแหล่งชุมชน หรือตามท้องถิ่นต่างๆ แต่อาจจะพบได้ไม่มากนัก ขึ้นอยู่กับในแต่ละพื้นที่ด้วย

ข้อมูลทั่วไปของกระเบาน้ำ

กระเบาน้ำ เป็นผลไม้ป่า ที่หาทานได้ยาก ในปัจจุบัน ซึ่งหลายท่าน อาจจะไม่คุ้นเคย กับผลไม้ชนิดนี้ เนื่องจาก จะไม่มีขาย ตามท้อง ตลาดทั่วไป หาซื้อได้ยาก ถือว่าเป็นผลไม้ ที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน และคนไทยสามารถ ใช้ประโยชน์ ได้จากทุกส่วน ของลำต้นกระเบาน้ำ ได้อย่างหลากหลาย ก่อให้เกิดผลดี รวมถึงช่วยบำรุง สุขภาพร่างกาย ต่อผู้รับประทาน

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับกระเบาน้ำ

ผลไม้กระเบาน้ำ มีชื่อเรียก ที่หลากหลาย ได้แก่ กระเบาใหญ่, กระเบา, แก้วกาหลง หรือ ดงกระเบาน้ำ เป็นต้น เป็นผลไม้ทานได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hydnocarpus anthelminticus เป็นพืชดอกในวงศ์ Achariaceae แต่เดิมพบในประเทศอินโดจีน และปัจจุบัน ปลูกในจีนตอนใต้ด้วย เป็นหนึ่งในสมุนไพรพื้นฐาน 50 ชนิด ที่ใช้ในการแพทย์แผนจีน [1]

ผลไม้กระเบาน้ำ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะสามารถ พบได้ตามป่า และปัจจุบัน หาทานได้ยาก เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ เป็นผลไม้ที่คู่ควร แก่การอนุรักษ์รักษา เอาไว้ให้อยู่คู่ กับประเทศไทยไปนานๆ รวมถึงเป็นผลไม้ ที่มีสรรพคุณดีๆ มากมาย แถมยังมี ประโยชน์อีกด้วย

ถิ่นกำเนิดของกระเบาน้ำ

กระเบาน้ำคือ ผลไม้รสชาติดี มีถิ่นกำเนิด ในทวีปเอเชีย แถบภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในบริเวณประเทศพม่า, ประเทศไทย, ประเทศลาว, ประเทศกัมพูชา และ ประเทศมาเลเซีย ต่อมาได้มีการ กระจายพันธุ์ไปยัง บริเวณใกล้เคียง โดยจะสามารถพบ ได้ตามเขาหินปูน, ป่าดิบรวมถึง ตามชายป่าริมน้ำทั่วไป ที่มีความสูงไม่เกิน 1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเล [2]

กระเบาน้ำ ผลไม้ป่าหาทานยาก อุดมไปด้วยสรรพคุณ

กระเบาน้ำ

กระเบาน้ำ ผลไม้ป่า หาทานได้ยาก แต่อุดมไปด้วย สรรพคุณที่เป็นยาสมุนไพร ช่วยบำรุง และรักษา ในส่วนของร่างกาย ได้อย่างหลากหลาย เด็กทานได้ ผู้ใหญ่ทานแล้วดี เป็นอีกหนึ่ง ผลไม้โบราณ ที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยรู้จักกัน รวมถึงเด็ก และเยาว์ชนรุ่นใหม่ ด้วยเช่นกัน แต่สามารถพบได้ ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งเป็นผลไม้ ที่คู่ควร ต่อการอนุรักษ์

ลักษณะทั่วไปของ กระเบาน้ำ

ผลไม้กระเบาน้ำ มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ดังต่อไปนี้

  • ลำต้น : จัดเป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ ลำต้นมีความสูง ประมาณ 10-20 เมตร ลำต้นจะตรง และส่วนเรือนยอด เป็นพุ่มทึบ เปลือกของลำต้น จะมีสีน้ำตาล
  • ใบ : ใบจะออก เรียงสลับกัน ใบมีลักษณะ เป็นรูปขอบขนาน ปลายใบจะเรียวแหลม โคนใบจะหม่นเบี้ยว ขอบใบเรียบ ส่วนเนื้อใบหนา ใบอ่อนจะมี สีชมพูแดง มองดูแล้วสวยมาก ส่วนใบแก่ จะมีสีเขียวเข้ม
  • ดอก : ดอกจะออก ตามซอกใบ เป็นดอกแยกเพศ กลีบรองจะมี กลีบดอก อย่างละ 5 กลีบ ส่วนดอกเพศผู้ จะเป็นสีชมพูอ่อน มีกลิ่นหอม ดอกเพศเมีย ออกเป็นช่อสั้นๆ ดอกสีชมพูอ่อนเหมือนกัน
  • ผล : ผลจะมีลักษณะกลม เปลือกผลจะแข็ง คล้ายผลมะขวิด ซึ่งผิวผลจะเรียบ แต่มีขน ปลายผลเนื้อภายในผล จะเป็นสีขาวอมเหลือง หุ้มเมล็ดทั้งหมด รับประทานได้ มีรสชาติหวาน
  • เมล็ด : มีเมล็ดแก่สีดำ ประมาณ 30-50 เมล็ด

ที่มา: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ [3]

กระเบาน้ำ กับสรรพคุณทั่วไป

มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร

  • ผลรับประทาน แบบสดๆ ได้เลย ผลมีรสชาติหวานมัน มีส่วนที่สามารถ ใช้รักษามะเร็งได้
  • เมล็ดจะมีรสเผ็ดร้อน และรสชาติขม ซึ่งใช้เป็นยาร้อน โดยมีพิษ ออกฤทธิ์ต่อม้าม รวมถึงใช้เป็นยาขับลม กับ ขับพิษ
  • รากของลำต้น หรือเนื้อไม้ ให้นำมาต้ม กับน้ำที่สะอาดดื่ม จะช่วยดับพิษทั้งปวง รวมถึงช่วยแก้ เสมหะเป็นพิษ
  • เมล็ดทานแล้ว ช่วยเป็นยาถ่ายพยาธิได้

สามารถคลิกอ่าน เนื้อหาเพิ่มเติม เกี่ยวกับ สรรพคุณของกระเบา ได้ที่ medthai

สรุป กระเบาน้ำ ผลไม้รสชาติดี มีประโยชน์

สรุป กระเบาน้ำ คือผลไม้ชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อเรียกได้หลายชื่อ ผลรับประทานได้ ผลสุกมีรสชาติหวานมัน จัดเป็นไม้ยืนต้น ที่มีขนาดกลาง ไปจนถึงขนาดใหญ่ เป็นผลไม้ป่า ที่เกิดขึ้นเองในป่า ตามธรรมชาติ ถ้าในประเทศไทย สามารถพบได้ ทั่วทุกภาค มีสรรพคุณ เป็นยาสมุนไพร ปัจจุบันหาทานได้ยาก และเสี่ยงต่อ การสูญพันธุ์ ต้องช่วยกัน อนุรักษ์ไว้ เพื่อให้ลูกหลาน หรือเยาว์ชนรุ่นใหม่ ได้รู้ว่าในบ้านเกิดของเรา มีผลไม้ดีๆ อย่างกระเบาน้ำ ที่อุดมไปด้วย คุณประโยชน์เพียบ

อ้างอิง

[1] wikipedia. (August 20, 2021). กระเบาใหญ่. Retrieved from wikipedia

[2] disthai. (2017-2024). กระเบา ประโยชน์ดีๆสรรพคุณเด่นๆ และข้อมูลงานวิจัย. Retrieved from disthai

[3] rspg.org. (2024). กระเบาใหญ่. Retrieved from rspg.org